ฟุตซอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017รายละเอียดการแข่งขันประเทศเจ้าภาพ ไทยเมืองกรุงเทพมหานครวันที่16–26 พฤษภาคม พ.ศ. 2560[1]ทีม21 (จาก 1 สมาพันธ์)สถานที่2 (ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขันชนะเลิศ อิหร่าน ( 1 title )รองชนะเลิศ อิรักอันดับที่ 3 ไทยอันดับที่ 4 อุซเบกิสถานสถิติการแข่งขันจำนวนนัดที่แข่งขัน51จำนวนประตู353 (6.92 ประตูต่อนัด)ผู้ชม45,235 (887 คนต่อนัด)ผู้ทำประตูสูงสุดอุซเบกิสถาน2019 →
การแข่งขัน ฟุตซอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2017 เป็นครั้งแรกของ ฟุตซอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี, เป็นการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์ระดับชาติที่จะแข่งขันทุกๆ สองปี ที่จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ( เอเอฟซี ) สำหรับทีมชาติเยาวชนทีมชายของทวีปเอเชีย. อิหร่านและไทย ได้มีสัญญาณถึงความตั้งใจของพวกเขาที่จะสถาปนาในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน. [ 2 ]
ไม่มีการคัดเลือก, และทีมที่เข้าแข่งขันทั้งหมดจะได้ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย. [ 2 ] ด้านล่างนี้คือ 22 ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน. ซาอุดิอาระเบีย เริ่มแรกจะได้เข้าร่วมแต่ได้ตัดสินใจที่จะถอนทีมก่อนการจับสลาก.

แต่ละแมตช์ลงเล่นที่ บางกอกอารีนา และ อินดอร์ สเตเดียม หัวหมาก ใน กรุงเทพมหานคร .

ผู้ตัดสิน

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบก่อนรองชนะเลิศ. เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น ( UTC+7 )

อันดับ

ทีม

เล่น

ชนะ

เสมอ

แพ้

ได้

เสีย

ต่าง

คะแนน

การผ่านเข้ารอบ

1

 อิรัก

5

5

0

0

25

10

+15

15

รอบแพ้คัดออก

2

 ไทย ( H )

5

4

0

1

30

10

+20

12

3

 อัฟกานิสถาน

5

3

0

2

27

15

+12

9

4

 มาเลเซีย

5

2

0

3

18

17

+1

6

5

 บาห์เรน

5

1

0

4

7

22

−15

3

6

 บรูไน

5

0

0

5

8

41

−33

0

อันดับ

ทีม

เล่น

ชนะ

เสมอ

แพ้

ได้

เสีย

ต่าง

คะแนน

การผ่านเข้ารอบ

1

 อินโดนีเซีย

4

2

2

0

15

9

+6

8

รอบแพ้คัดออก

2

 ญี่ปุ่น

4

2

2

0

15

9

+6

8

3

 เวียดนาม

4

2

1

1

11

10

+1

7

4

 ทาจิกิสถาน

4

1

1

2

16

14

+2

4

5

 จีนไทเป

4

0

0

4

6

21

−15

0

อันดับ

ทีม

เล่น

ชนะ

เสมอ

แพ้

ได้

เสีย

ต่าง

คะแนน

การผ่านเข้ารอบ

1

 อุซเบกิสถาน

4

3

1

0

24

10

+14

10

รอบแพ้คัดออก

2

 เลบานอน

4

3

1

0

16

5

+11

10

3

 ฮ่องกง

4

2

0

2

8

13

−5

6

4

 พม่า

4

1

0

3

7

16

−9

3

5

 กาตาร์

4

0

0

4

8

19

−11

0

อันดับ

ทีม

เล่น

ชนะ

เสมอ

แพ้

ได้

เสีย

ต่าง

คะแนน

การผ่านเข้ารอบ

1

 อิหร่าน

4

4

0

0

27

2

+25

12

รอบแพ้คัดออก

2

 มองโกเลีย

4

2

1

1

10

12

−2

7

3

 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

4

2

0

2

11

14

−3

6

4

 คีร์กีซสถาน

4

0

2

2

8

19

−11

2

5

 จีน

4

0

1

3

6

15

−9

1

ในรอบแพ้คัดออก, ต่อเวลาพิเศษ และ การดวลลูกโทษ เป็นวิธีที่จะใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น, ยกเว้นสำหรับนัดชิงอันดับที่สามจะเป็น การดวลลูกโทษ ( ไม่มี ต่อเวลาพิเศษ ) เป็นวิธีที่จะใช้ตัดสินหาผู้ชนะในกรณีที่จำเป็น ( กฏระเบียบข้อที่ 14.1 และ 15.1 ). [ 3 ]
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ          22 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) อินโดนีเซีย224 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) ไทย4
 ไทย522 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก) อิหร่าน
(ต่อเวลา)
7
 อิหร่าน6

26 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) เลบานอน2
 อิหร่าน222 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) อิรัก0
 อิรัก124 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) ญี่ปุ่น0
 อิรัก522 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (หัวหมาก) อุซเบกิสถาน1
รอบชิงอันดับที่สาม อุซเบกิสถาน
(ต่อเวลา)
1025 พฤษภาคม – กรุงเทพมหานคร (อารีนา) มองโกเลีย7
 ไทย8 อุซเบกิสถาน1

ผู้ชนะได้จะผ่านเข้าไปเล่น กีฬาฟุตซอลในโอลิมปิกยุวชนฤดูร้อน 2018, ซึ่งพวกเขาจะได้เป็นตัวแทนของทีมโดยทีมชุดยู-18 ของพวกเขา .

13 ประตู
10 ประตู
9 ประตู
7 ประตู
6 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง

สองทีมต่อไปนี้จากเอเอฟซีที่ได้เข้าร่วมสำหรับ กีฬาฟุตซอลในโอลิมปิกยุวชนฤดูร้อน 2018, where they will be represented by their U-18 representative teams .

ทีม

เข้าร่วมเมื่อวันที่

ผลงานครั้งที่ผ่านมาในรายการนี้

 อิหร่าน
24 พฤษภาคม 2560
0 (ครั้งแรก)

 อิรัก
24 พฤษภาคม 2560
0 (ครั้งแรก)