รายละเอียดสินค้า

*อุปกรณ์พยุงข้อเท้า GUARD Sprains การบาดเจ็บรั้งเฝือกข้อเท้า รองกันอาการพังผืดอักเสบปวด
*ผู้ที่ถอดเฝือกออกใหม่ๆ ผู้ที่ต้องการใส่เฝือกเป็นบางครั้ง ผู้ที่ฝึกเดินลงน้ำหนักหลังถอดเฝือก
*กระดูกเท้าแตก/หัก/ร้าว กระดูกขาร้าว กระดูกนิ้วเท้าหัก ข้อเท้าแตก กระดูกขาแตก กระดูกขาหัก
*ข้อเท้าอักเสบเรื้อรัง กล้ามเนื้อขาอักเสบ เอ็นรอยหวายฉีกขาด น้ำหนักตัวเกิน ปวดข้อเท้า
*ใช้แทนเฝือกปูน ในรายที่แพ้เฝือกปูน
*รองเท้าน้ำหนักเบา พื้นรองเท้ามีแผ่นกันลื่นขณะเดิน ช่วยให้เดินง่ายเพิ่มความปลอดภัยขณะเดิน
1. การรับน้ำหนักเป็นเวลานาน
2. น้ำหนักตัวมาก
3. สวมใส่รองเท้าที่ไม่เหมาะสม
4. เอ็นร้อยหวายยึด
5. ป้องกันและบรรเทาอาการปลายเท้าตก ( Foot drop ) เพิ่มเพื่อนและปรึกษานักกายภาพบำบัด
คลิก>>https://lin.ee/2qoENrZ
รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/รองเท้าพยุงข้อเท้า 
รหัสสินค้า S054: ราคา 1,800  บาท
ฟรีไซด์ผู้ชาย/ฟรีไซด์ผู้หญิง /   ใส่สลับได้ทั้งซ้ายขวา

วัตถุประสงค์การใช้งาน :

  • บรรเทาอาการปวดของ fasciitis plantar ในเวลากลางคืน เหมาะสำหรับกระดูกหักที่มีเสถียรภาพ, การบาดเจ็บเอ็น, การผ่าตัดข้อเท้า, เอ็นร้อยหวายและ fasciitis plantar

คุณสมบัติ/ข้อบ่งใช้ :

  • ลดการลงน้ำหนักเท้า ทำให้กระดูกที่หักติดประสานกันเร็วขึ้น (

    tibia & fibula )

  • ช่วยให้กระดูกที่หักติดได้รูปทรงตามหลักกายวิภาคศาสตร์
  • ใส่เดินได้ทั้งในบ้านและนอกบ้าน

  • สวมใส่และถอดได้บ่อยตามต้องการ

  • อุปกรณ์พยุงข้อเท้า GUARD Sprains การบาดเจ็บรั้งเฝือกข้อเท้าส้นรองกันอาการพังผืดอักเสบปวด

    ผู้ที่ถอดเฝือกออกใหม่ๆ ผู้ที่ต้องการใส่เฝือกเป็นบางครั้ง ผู้ที่ฝึกเดินลงน้ำหนักหลังถอดเฝือก  

    กระดูกเท้าแตก/หัก/ร้าว  กระดูกขาร้าว  กระดูกนิ้วเท้าหัก ข้อเท้าแตก กระดูกขาแตก กระดูกขาหัก  

    ข้อเท้าอักเสบเรื้อรัง กล้ามเนื้อขาอักเสบ  เอ็นรอยหวายฉีกขาด  น้ำหนักตัวเกิน ปวดข้อเท้า  

    ใช้แทนเฝือกปูน ในรายที่แพ้เฝือกปูน รองเท้าน้ำหนักเบา พื้นรองเท้ามีแผ่นกันลื่นขณะเดิน ช่วยให้เดินง่ายเพิ่มความปลอดภัยขณะเดิน


คุณลักษณะเฉพาะ :
**วัสดุเป็น thermoplastic เกรด A บุด้วยฟองน้ำเนื้อแน่น หุ้มผ้านาโนลดกลิ่นอับชื้น
                                                                                
                                         
                                         
                                                                                      
                                         

เพิ่มเพื่อนและปรึกษานักกายภาพบำบัด
คลิก > > hypertext transfer protocol : //lin.ee/2qoENrZ
line ID :  @firstphysio
call : 085-264-4994

 
บริษัทกายภาพบำบัดเฟิร์ส ฟิสิโอ”  เรามีนักกายภาพบำบัดประสบการณ์นานกว่า 20 ปีไว้คอยให้คำแนะนำท่านนะคะ
“First Rehab Clinic Physical O ”   We have over 10 years experience as a physical therapist to advise you here.
Laughing You can learn how to use the equipment, physical therapy and other products, click !!! here  
ท่านสามารถศึกษาวิธีใช้อุปกรณ์กายภาพบำบัดและสินค้าตัวอื่นๆ จากบริษัทกายภาพบำบัดเฟิร์สฟิสิโอ  คลิก!!! ที่นี่
ที่ตั้งหน้าร้าน

สาขา1 : ราชบุรี

 กายภาพบำบัดเฟิร์ส ฟิสิโอ ติดถนนเพชรเกษม ใกล้สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี  ห่างจากนครปฐมเพียง 10 กิโลเมตร 

สาขา2 : กรุงเทพ (สุคนธสวัสดิ์30)

 ลอดใต้อุโมงค์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตรงมา 3 ไฟแดง เลี้ยวขวาเข้าสุคนธสวัสดิ์โชคชัย 4              ร้านอยู่ซ้ายมือในศูนย์การค้า SS Center ติดไปรษณีย์ย่อยจรเข้บัว

คำค้นที่เกี่ยวข้อง: รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)ของแท้ รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)  ราคาถูก, ราคา รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า , ขาย  รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า , รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า  รีวิว,  รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)  ถูกและดี, รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า ซื้อที่ไหน,  รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า  ดีไหม, ราคาส่ง  รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้ายพยุงข้อเท้า กายภาพบำบัด รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า, คลีนิค รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือก่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า, ฟื้นฟู รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury), อุปกรณ์ช่วยเหลือคนไข้  รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury), ศูนย์ดูแลเด็กเล็ก รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรรองเท้าพยุงข้อเท้า, ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ รองเท้าเฝือกอ่อน/เฝือกอ่อนขา/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า (Splint Luxury)/ส้นรองเท้าพยุงข้อเท้า,โรงพยาบาล 
ราคาส่ง !!  รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า  (Splint Luxury)
คุณเป็นคนที่ต้องการถอดเฝือก แล้วอยากเดินลงน้ำหนักได้ใช่ไหม ? เราขอเวลาเล็กน้อย เพื่อแนะนำ รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า ( Splint Luxury ) สินค้าดีมีคุณภาพสูง จะช่วยทำให้การเดินหลังถอดเฝือกของท่านดีขึ้นอย่างแน่นอน เมื่อท่านใช้รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า ( Splint Luxury ) เป็นประจำ ไม่ต้องห่วงเรื่องจะโดนโกง เอาสินค้าปลอมมาขาย ถึงแม้ราคายาสินค้าของเราจะถูกกว่าเจ้าอื่นๆ แต่เป็นของแท้แน่นอน ลองเปรียบเทียบราคาก่อนซื้อได้เลย ขอให้คุณมั่นใจได้ว่าเราขายแต่ รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า ( Splint Luxury ) ของแท้เท่านั้น มั่นใจเมื่อซื้อกับเรา ไม่ต้องห่วงเรื่องการจัดส่ง รองเท้าเฝือกอ่อน/รองเท้าหลังถอดเฝือก/เฝือกอ่อนข้อเท้า ( Splint Luxury ) จะถึงมือของท่านแน่นอน ท่านเพียงรอรับของที่บ้านได้เลย เชื่อถือได้ 100 % ลองเข้ามาดูสินค้าของเราก่อน อย่าซื้อ อุปกรณ์ดามกันเท้าตกแบบมีพื้นรองเท้า [ Ankle Foot Orthosis Luxury ] จนกว่าจะได้เช็คราคาจากเว็บของเราก่อน มิเช่นนั้น ท่านอาจจะพลาดโปรโมชั่นดีๆจากเว็บเรานะคะ…

Read more: Swansea City A.F.C.

Q  and  A    เรื่อง  กายอุปกรณ์และเครื่องช่วยคนพิการในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
BY…FIRSTPHYSIO         http://www.firstphysioclinic.com      Line ID: 0852644994
1.  Q :  Ankle Foot Orthosis หรือเรียกโดยย่อว่า AFO คืออะไร
     A :  Ankle Foot Orthosis หรือเรียกโดยย่อว่า AFO คือกายอุปกรณ์เสริมที่คลุมหรือดามผ่านส่วนของเท้า และข้อเท้า  เหมาะแก่บุคคล  เช่น ผู้ที่มีโครงสร้างของเท้าและเท้าที่ผิดปกติหรือมีการบิดผิดรูป, มี ภาวะของกล้ามเนื้ออ่อนแรงช่วงขาส่วนล่าง  มีภาวะเกร็งที่ขามีภาวะเดินแล้วปลายเท้าตกหรือ      Foot drop   รวมไปถึงผู้ที่มีกระดูกหักในส่วนของกระดูกขาส่วนล่างลงไป หรือผู้ที่ไม่สามารถเดิน          ลงน้ำหนักได้   เป็นต้น
2.  Q :  Ankle Foot Orthosis หรือเรียกโดยย่อว่า AFO เหมาะกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอย่างไร
     A :  ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจะมีปัญหาในการเดิน  ที่เกี่ยวข้องกับการบังคับควบคุมกล้ามเนื้อขา โครงสร้างของเท้าและเท้าที่ผิดปกติหรือมีการบิดผิดรูป  มีภาวะของกล้ามเนื้ออ่อนแรงช่วงขา วนล่าง   มีภาวะเกร็งที่ขา มีภาวะเดินแล้วปลายเท้าตกหรือ Foot drop 
3.  Q :  Ankle Foot Orthosis หรือเรียกโดยย่อว่า AFO ส่งผลกับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอย่างไร
     A :  ผลของการใช้อุปกรณ์จะขึ้นอยู่กับชนิด     การออกแบบและวัตถุประสงค์ต่อการใช้งานซึ่งจะให้ผลที่  ต่างกันออกไปขึ้น เช่น ช่วยควบคุมโครงสร้างของเท้าและข้อเท้าให้อยู่ในตำแหน่งหรือ Position ที่เหมาะสม ช่วยในการส่งเสริมหรือจำกัดการเคลื่อนไหวของข้อเท้า ลดภาวะการเกร็งของขา 
 ป้องกันข้อเท้าติด ช่วยเพิ่มความมั่นคงและประคองข้อเท้าเวลาเดิน  รวมไปถึงการจำกัดการลง       น้ำหนักที่เท้า หรือการส่งเสริมให้กระดูกขาท่อนล่างที่หักสามารถติดหรือเชื่อมกันได้ดีขึ้น   เป็นต้น

4.  Q :  หลักการทำงานของอุปกรณ์ชนิดนี้ ได้แก่
     A :  –  Control position  : ควบคุมการข้อเท้าในทุกแนวการเคลื่อนไหว     โดยส่วนใหญ่จะปรับข้อเท้าให้  อยู่ที่มุม 90 องศา    ส้นเท้าอยู่ในแนวตรง และเท้าอยู่ในตรงไม่ให้บิดเอียง หรือจะปรับในอยู่ในแนวที่  เหมาะสมต่อการรักษาโดยพิจารณาเฉพาะรายไป
            –  Correct deformity   : ดัดแก้ไขความผิดปกติของโครงสร้างเท้าและข้อเท้าที่มีการบิดผิดรูป ให้  กลับมาอยู่ในแนวปกติหรืออยู่ในแนวที่เหมาะสมโดยพิจารณาเฉพาะรายไป
            –  Re-alignment  : จัดแนวโครงสร้างและการลงน้ำหนักของร่างกายในส่วนของขาท่อนล่างใหม่ ให้  กลับมาอยู่ในแนวปกติให้ได้มากที่สุด   
            –  Increase stability    :  สร้างความมั่นคงในการยืนและลงน้ำหนัก 

5.Q :  ชนิดของกายอุปกรณ์เสริมสำหรับเท้าและข้อเท้า Ankle Foot Orthosis ; AFO   ได้แก่
     A :  1. Plastic Ankle Foot Orthosis        
            2. Conventional Ankle Foot Orthosis
            3. Patella Tendon Bearing Weight Ankle Foot Orthosis
            4. Supra malleolar Orthosis 

6.  Q :  Plastic Ankle Foot Orthosis       
     A :  – ไม่สามารถใช้กับผู้ที่มีภาวะ  Volume Fluctuation คือมีการเปลี่ยนแปลงของมวลร่างกายไม่คงที่ อย่างรวดเร็ว เช่น เกิดภาวะบวมและยุบบวมบ่อยๆ
            – เนื่องจากเป็น total contact แนบกับอวัยวะ ผู้ป่วยบางคนอาจมีปัญหาเรื่องการระคายเคืองต่อผิวหนัง เมื่อสัมผัสโดยตรงเป็นระยะเวลานานได้
            – ไม่เหมาะกับผู้ที่มีน้ำหนักตัวมากผิดปกติ เพราะพลาสติกอาจจะไม่แข็งแรงพอ

8.  Q :  Solid AFO เหมาะกับกลุ่มโรคและอาการประเภทใดบ้าง
     A :  Muscle weakness กล้ามเนื้ออ่อนแรงบริเวณขาส่วนล่างที่ควบคุมการทำงานของข้อเท้าและเท้า 
              – ภาวะปลายเท้าตก (Foot Drop)
             – การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง (Spinal cord injury)
             – การบาดเจ็บของเส้นประสาท (Nerve injury )
             – โปลิโอ (Poliomyelitis)
             – ภาวะที่สมองพัฒนาการล่าช้า (Delayed developmental child )
             – ภาวะสมองพิการแต่กำเนิด (Cerebral Palsy หรือ CP)
            Spasticity  ภาวะกล้ามเนื้อเกร็ง (ส่วนใหญ่เกิดที่กล้ามเนื้อน่องที่ทำให้เกิดการเหยียดข้อเท้า)       
            – ภาวะสมองพิการแต่กำเนิด ( Cerebral Palsy หรือ CP )
            – ภาวะโรคหลอดเลือดในสมอง ( Stroke หรือ CVA)
            – การบาดเจ็บที่ไขสันหลัง (Spinal cord injury) 

9.  Q :    Flexible plastic AFO เหมาะกับกลุ่มโรคและอาการประเภทใดบ้าง 
     A :    Foot Drop (ปลายเท้าตก) เกิดเนื่องจากมีการบาดเจ็บของเส้นประสาท (Nerve injury) ที่มีผลทำให้  กล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่กระดกข้อเท้าขึ้น (tibialis anterior) เกิดการอ่อนแรงหรือทำงานไม่ได้
  10.  Q : Articulated plastic AFO เหมาะกับอาการแบบไหน
     A :  –  ภาวะสมองพิการตั้งแต่กำเนิด    ( Cerebral Palsy หรือ CP )    ที่มีไม่มีหรือมีอาการเกร็งขา
              เล็กน้อยเท่านั้น
              –  ภาวะกล้ามเนื้ออ่อนแรงที่มีผลต่อการควบคุมการทำงานของข้อเท้า และข้อเท้าสามารถกระดกขึ้น  ลงแบบ passive (ทำโดยไม่ได้ใช้แรงกล้ามเนื้อตัวเอง) ได้

11.  Q :  ส่วนประกอบของ Conventional AFO มีดังนี้  อะไรบ้าง
       A :  Calf Band : จะอยู่ที่ส่วนหลังของน่อง ต่ำกว่าหัวกระดูก ฟิบูล่าร์ประมาณ 2.5 cm. เป็นแผ่นโลหะที่  ดัดโค้งตามรูปร่างขา             
             Upright : แท่งโลหะยาวสองข้าง ดัดไปตามรูปร่างขา
              Ankle Joint :ข้อต่อของข้อเท้า ซึ่งสามารถเลือกได้หลายประเภทตามการใช้งานมีทั้งแบบกัดการ เคลื่อนไหวและช่วยการเคลื่อนไหวของข้อเท้า เช่น
              Fixed joint  ปรับระดับมุมข้อเท้าที่ 90 องศา      ข้อเท้าไม่สามารถมีการเคลื่อนไหวได้    ( ผลเหมือน 
              Solid plastic AFO)
              Dorsiflexion assist
              Plantar flexion assist
              Spring Control
              Strirrup : ส่วนที่ดัดและยึดติดกับรองเท้า
              T- strap : ชิ้นส่วนที่ช่วยพยุงข้อเท้า เมื่อมีการบิดเอียงไปฝั่งใดฝั่งหนึ่ง

12.  Q :  ข้อดีของ conventional AFO คืออะไร
       A :  เหมาะกับผู้ที่มี Volume Flactuation (ภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของมวลร่างกาย เช่นการบวม ยุบบวม  กลับไปมาอย่างรวดเร็ว เช่น โรคไต เบาหวาน โรคหลอดเลือด
              ระบายอากาศดี เพราะพื้นที่ผิวสำหรับมีน้อย
              มีความแข็งแรงมาก เหมาะกับผู้ใช้ที่มีน้ำหนักตัวมาก

13.  Q :  ข้อจำกัดของ Conventional AFO  คืออะไร
       A :  เพิ่มแรงกดเฉพาะจุดมาก เพราะพื้นที่ผิวสัมผัสมีน้อย โดยเฉพาะที่น่องด้านหลัง
              อุปกรณ์ค่อนข้างมีน้ำหนักมาก
              ต้องติดกับรองเท้า ไม่สามารถถอดไปใส่กับรองเท้าอื่นได้
              รูปร่างค่อนข้างเทอะทะ ไม่สวยงาม

14.  Q : Patella Tendon Bearing Weight Ankle Foot Orthosis   คืออะไร
       A :  Patella Tendon Bearing   Weight Ankle Foot Orthosis   หรือเรียกโดยย่อว่า PTB AFO ออกแบบมา
              ให้มีการรับน้ำหนักที่เอ็นใต้ลูกสะบ้า   ( patella tendon)   แทนการลงน้ำหนักที่เท้า  สามารถลดหรือ
              จำกัดการลงน้ำหนักที่เท้าดี

15.  Q : PTB AFO สามารถใช้ในผู้ป่วยดังต่อไปนี้ คือ
       A :  Heel ulcer แผลที่ส้นเท้า                            Calcanectomy การตัดกระดูกส้นเท้าบางส่วน
              Plantar skin graft                                       Tibia fracture กระดูกหน้าแข้งหัก
              Severe foot or ankle trauma มีอุบัติเหตุรุนแรงที่เกิดกับเท้าหรือข้อเท้า
              Chronic ankle pain or ankle fusion เจ็บข้อเท้าเรื้อรังหรือการเชื่อมต่อกันของข้อเท้า

16.  Q : Supra Malleolar Orthosis  คืออะไร
       A :  Supra Malleolar Orthosis หรือเรียกโดยย่อว่า SMO เป็นกายอุปกรณ์เสริมที่ดามผ่านเท้าและข้อเท้า  แต่มีลักษณะสั้นกว่า AFO ส่วนใหญ่จะใช้ flexible plastic    ในการทำขอบของอุปกรณ์มีส่วนยื่นมา คลุมถึงหลังเท้า ด้านข้างคลุมแค่ตาตุ่มและด้านหลังตัดเว้าลงมาถึงจุดเกาะของเอ็นร้อยหวาย
17.  Q : หลักการและข้อบ่งชี้ของการใช้ SMO  คืออะไร
       A : ใช้ดัดเท้าที่มีการบิดเอียงผิดรูป โดยเฉพาะภาวะที่มี hyper pronation (ส้นเท้าบิดเอียงเข้ามาด้านใน)  มากเกินไป ซึ่งจะผลในการควบคุมที่มากกว่าและดีกว่าการใช้ Foot Orthosis
              ข้อเท้าสามารถการเคลื่อนไหวในแนวกระดกขึ้นลงได้ตามปกติ

ถาม-ตอบ ข้อสงสัยเกี่ยวกับกายภาพบำบัด
> > > เฟิร์สฟิสิโอคลินิกกายภาพบำบัด
> > > hypertext transfer protocol : //www.firstphysioclinic.com
> > > LINE ID : 0852644994

Read more: Sevilla FC