แบบแรก คือ การอ่านชั่วโมงและนาทีเป็นแบบตัวเลขธรรมดาทั่วไปตามตัวเลขที่ปรากฏอยู่บนหน้าปัดนาฬิกา แล้วใช้คำว่า ante meridiem ( ante meridiem ), post meridiem ( post meridiem ) เป็นตัวกำหนดบอกว่าเป็นช่วงเช้า หรือบ่าย ค่ำ โดยหลังจากเที่ยงคืนเป็นต้นไป ( 24.00น. ) ถึง เที่ยงวัน ( 12.00น. ) ให้ใช้เป็น ante meridiem และหลังจากเที่ยงวัน ( 12.00น. ) ไปถึงเที่ยงคืน ( 24.00น. ) ให้ใช้เป็น post meridiem เช่น
ตี 1 เท่ากับ 1:00 ante meridiem เท่ากับ one a.m .
ตี 2:20 เท่ากับ 2:20 ante meridiem เท่ากับ two twenty a.m .
ตี 4:30 เท่ากับ 4:30 ante meridiem เท่ากับ four thirty a.m .
6:00 เท่ากับ 6:00 ante meridiem เท่ากับ six a.m .
11:40 เท่ากับ 11:00 ante meridiem เท่ากับ eleven forty a.m .
บ่ายโมง ( 13:00 ) เท่ากับ 1:00 post meridiem เท่ากับ one p.m .
บ่าย 2 โมง 20 นาที ( 14:20 ) เท่ากับ 2:20 post meridiem เท่ากับ two twenty dollar bill p.m .
บ่าย 3 โมง 30นาที ( 15:30 ) เท่ากับ 3:30 post meridiem เท่ากับ three thirty p.m .
4 โมงเย็น ( 16:00 ) เท่ากับ 4:00 post meridiem เท่ากับ four p.m .
5 โมงเย็น ( 17:00 ) เท่ากับ 5:00 post meridiem เท่ากับ five p.m .
6 โมงเย็น ( 18:00 ) เท่ากับ 6:00 post meridiem เท่ากับ six p.m .
6 โมง 50 นาที ( 18:50 ) เท่ากับ 6:50 post meridiem เท่ากับ six fifty p.m .
1 ทุ่ม 40 นาที ( 19:40 ) เท่ากับ 7:40 post meridiem เท่ากับ seven forty p.m .
2 ทุ่ม 45 นาที ( 20:45 ) เท่ากับ 8:45 post meridiem เท่ากับ eight forty five p.m .
3 ทุ่ม 55 นาที ( 21:55 ) เท่ากับ 9:55 post meridiem เท่ากับ nine fifty dollar bill five p.m .
4 ทุ่ม 5 นาที ( 22:05 ) เท่ากับ 10:05 post meridiem เท่ากับ ten O five p.m .
5 ทุ่ม 15 นาที ( 23:15 ) เท่ากับ 11:15 post meridiem เท่ากับ eleven fifteen p.m.
Read more: Cha Bum-kun – Wikipedia
*** สำหรับเที่ยงวัน และเที่ยงคืน จะไม่นิยมพูดว่า 12:00 p.m./ 12:00 ante meridiem แต่จะนิยมเขียนและพูดว่า 12:00 เท่ากับ noon / 24:00 เท่ากับ midnight***
** และสำหรับเวลาที่พูดกันของคนไทยก็จะทำให้สับสนเวลาพูดในภาษาอังกฤษ เพราะว่า การบอกเวลาในภาษาอังกฤษจะไม่มีคำว่า ตี โมง ทุ่ม โดยเฉพาะ 1 ทุ่ม ถึง 5 ทุ่ม เพราะฉะนั้นเมื่อบอกเวลาในภาษาอังกฤษ ให้นักศึกษาพยายามนึกถึงหน้าปัดนาฬิกาเข้าไว้ แล้วก็ใช้ตัวเลขตามหน้าปัดนาฬิกาเลย โดยใส่ a.m.ต่อท้ายถ้าเป็นเวลาหลังเที่ยงคืนถึงเที่ยงวัน และถ้าหลังเที่ยงวันไปถึงเที่ยงคืน ก็ใส่ p.m.ต่อท้าย **
แบบที่สอง คือ การบอกเวลาโดยใช้คำว่า past และ to มาบอกจำนวนนาที ก่อนหน้าที่จะบอกชั่วโมง ส่วนการบอกชั่วโมงก็จะบอกเหมือนกันกับแบบแรก past หมายถึง ชั่วโมงนั้นๆ ผ่านมาแล้วกี่นาที ในขณะที่คำว่า to หมายถึงอีกกี่นาทีจะถึงชั่วโมงหน้า เพราะฉะนั้นก็จะต้องคำนวณหาจำนวนนาทีว่าอีกกี่นาทีจึงจะถึงชั่วโมงหน้า ลองแบ่งครึ่งหน้าปัดนาฬิกาออกเป็นสองส่วนแนวตั้ง ( 12 -6 ) จะได้ซีกขวาและซีกซ้าย โดยเข็มนาทีที่บอกจำนวนนาทีทางซีกขวาจะใช้คำว่า past หลังการบอกชั่วโมง ส่วนซีกซ้ายจะใช้คำว่า to ก่อนหน้าการบอกชั่วโมง การบอกนาทีด้วยคำว่า past และ to นั้น จะมีข้อสังเกตในนาทีที่ 15, 30, และ 45 ดังนี้ นาทีที่ 15 จะใช้คำว่า a quarter past นาทีที่ 45 จะใช้ว่า a quarter to ส่วนนาทีที่ 30 ใช้คำว่า half past และการบอกเวลาที่ใช้คำว่า to นำหน้าการบอกชั่วโมงนั้น จะต้องคำนวณหาจำนวนนาทีที่เหลือ และส่วนชั่วโมงต้องบวกหนึ่งเข้าไปด้วย ตัวอย่างเช่น
ตี 2:40 เท่ากับ 2:40 ante meridiem เท่ากับ twenty dollar bill minutes to three a.m .
ตี 4:40 เท่ากับ 4:40 ante meridiem เท่ากับ twenty dollar bill minutes to five a.m .
11:40 เท่ากับ 11:40 ante meridiem เท่ากับ twenty dollar bill minutes to twelve a.m .
**จะเห็นว่าเราหาจำนวนนาทีที่เหลือก่อนแล้วชั่วโมงก็ต้องบวกหนึ่งเข้าไปหรือในความหมายง่าย ๆ ก็คือ อีก 20 นาทีจะถึง 12:00**
เที่ยง 45 นาที เท่ากับ 12:45 post meridiem เท่ากับ a quarter to one post meridiem อีก 15 นาทีจะถึงบ่ายโมง
บ่ายโมง 50 นาที เท่ากับ 1:50 post meridiem เท่ากับ ten minutes to two post meridiem อีก 10 นาทีถึงบ่าย 2 โมง
ทุ่ม 35 นาที เท่ากับ 7:35 post meridiem เท่ากับ twenty five minutes to eight อีก 25 นาทีถึงสองทุ่ม
4 ทุ่ม 55 นาที เท่ากับ 10:55p.m. เท่ากับ five minutes to eleven อีก 5 นาทีถึงห้าทุ่ม
Read more: 2015–16 Liverpool F.C. season – Wikipedia
ในแต่ละประเทศจะมีเวลาที่ไม่ตรงกัน เพราะเนื่องจากตำแหน่งที่ตั้งของแต่ละประเทศอยู่ในตำแหน่งที่ห่างจากเส้นลองติจูดที่ศูนย์องศาที่ใกล้ไกลต่างกัน ประเทศไหนอยู่ใกล้กับเส้นลองติจูดที่ศูนย์องศามากกว่าประเทศไทย เวลาก็จะช้ากว่าเวลาของเรา เช่นในบางประเทศแถบทวีปอเมริกาและยุโรปซึ่งอยู่ใกล้กับเส้นลองติจูดที่ศูนย์องศา เวลาจะช้ากว่าบ้านเรา 12 -13ชั่วโมงเลยทีเดียว แต่อย่างประเทศสิงคโปร์ซึ่งอยู่ไกลจากเส้นลองติจูดที่ศูนย์องศามากกว่าเรา เวลาของเขาก็จะเร็วกว่าเรา 1 ชั่วโมง ด้วยเหตุผลนี้จึงมีการตั้งค่าเวลากลางขึ้นมาเพื่อใช้ในการเทียบเวลาของประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก เวลานี้เราเรียกว่า GMT ( Greenwich Mean Time ) นั่นเอง และก็ยังมีเรื่องเกี่ยวกับเวลาในประเทศแถบยุโรปและอเมริกาที่ต่างจากเราไปอีก นอกเหนือจากเวลาที่ช้ากว่าเราก็คือ ในช่วงเริ่มฤดูใบไม้ผลิของเขาคือประมาณช่วงปลายเดือนมีนาคมหรือต้นเดือนเมษายน เขาจะทำการปรับเวลาโดยบวกเวลาให้เร็วขึ้นอีกหนึ่งชั่วโมงในเช้าวันแรกของวันที่เริ่มฤดูใบไม้ผลิ ซึ่งในภาษาอังกฤษเรียกว่า DST ( Daylight Saving Time ) เหตุผลที่ทำอย่างนี้เพราะเนื่องจากในช่วงนั้นพระอาทิตย์จะขึ้นเร็ว ทำให้คนทางแถบนั้นคิดว่าน่าจะปรับเวลาให้เร็วขึ้น เพื่อที่คนที่นั่นจะได้มีเวลากลางวันและช่วงเวลาที่จะได้รับแสงอาทิตย์มากขึ้น และพอถึงช่วงเริ่มฤดูใบไม้ร่วงซึ่ง จะอยู่ประมาณปลายเดือนตุลาคม หรือ ต้นเดือนพฤศจิกายน เขาก็จะลดเวลากลับมาหนึ่งชั่วโมง บ้านเราอาจจะไม่ค่อยเข้าใจในเหตุผลที่เขาปรับเวลากัน เพราะบ้านเรามีแสงแดดให้ได้รับเกือบจะตลอดทั้งปีแถมอากาศก็ไม่เคยหนาวมาก เลยไม่ได้เห็นความสำคัญของการที่พระอาทิตย์ขึ้นเร็วสักเท่าไหร่ แต่ก็ไม่แน่ว่าอากาศอาจจะเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมก็ได้ ถ้าภาวะโลกร้อนที่เราทั้งหลายกำลังเผชิญอยู่ไม่ได้มีการแก้ไข เอาใจใส่อย่างจริงจัง
เพราะฉะนั้นถึงเวลาแล้วที่ทุกๆคนจะต้องช่วยกันดูแลรักษาโลกของเรากันอย่างจริงจังเสียที ขอให้นักศึกษาได้ฝึกฝนและทบทวนกันอีกครั้งพร้อมทั้งรับฟังเสียงประกอบจากซีดีที่แนบ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดทักษะและความชำนาญในการบอกเรื่องเวลามากขึ้นทางที่ดีนักศึกษาควรฝึกพูดบอกเวลากับเพื่อนร่วมชั้นเป็นภาษาอังกฤษเพื่อให้เกิดความคุ้นเคยในการใช้ภาษา